โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

ที่มาของระบบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ภายหลังการปฏิรูประบบราชการไทยเมื่อปี พ.ศ. 2545 และการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หน่วยงานภาครัฐได้มีการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับยุคสมัยและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนอย่างต่อเนื่อง มีการนำแนวคิดวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) มาใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน อย่างไรก็ตามตลอดช่วงเวลากว่า 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ยังคงมีข่าวการดำเนินงานที่ขาดความโปร่งใสและการร้องเรียนเรื่องทุจริตในการรับบริการของหน่วยงานภาครัฐจากภาคประชาชนอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการที่ประเทศไทยถูกจัดอันดับภาพลักษณ์การทุจริต (Corruption Perception Index: CPI) โดยองค์การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) ซึ่งที่ผ่านมามีค่าคะแนนค่อนข้างต่ำมาโดยตลอด

ล่าสุดประเทศไทยมีคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต หรือ CPI ประจำปี 2022 อยู่ในอันดับที่ 101 ของโลกจาก 180 ประเทศ โดยปี 2566 ขยับอันดับขึ้นมา 9 อันดับ แต่ไทยยังคงรักษาคะแนนรวมที่ 36 คะแนน

ตัวชี้วัดย่อย ITA 2567

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10 การเปิดเผยข้อมูล

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1
ข้อมูลพื้นฐาน

O1 โครงสร้างองค์กร
O2 ข้อมูลผู้บริหาร
O3 อำนาจหน้าที่
O4 ข้อมูลการติดต่อ
O5 ข่าวประชาสัมพันธ์
O6 Q&A Webbroad

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2
การบริหารงาน

O7 แผนยุทธศาสตร์/พัฒนาหน่วยงาน
O8 แผนและความก้าวหน้าในการดําเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณประจําปี
O9 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
O10 คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
O11 คู่มือ/แนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการ/ผู้มาติดต่อ
O12 ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
O13 E-Service

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3
การบริหารเงินงบประมาณ

O14 รายการจัดซื้อจัดจ้าง/จัดหาพัสดุ
O15 ประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง/จัดหาพัสดุhttps://www.klongsi.go.th/egp/  
O16 ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้าง/จัดหาพัสดุ
O17 รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง/จัดหาพัสดุประจำปี

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

O18 แผนบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
O19 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
O20 ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
O21 การขับเคลื่อนจริยธรรม

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5
การส่งเสริมความโปร่งใส การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต

O22 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O23 ช่องทางร้องเรียนทุจริตและประพฤติมิชอบ
O24 ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนทุจริตและประพฤติมิชอบ
O25 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1
การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร

O26 ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy
O27 สร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
O28 รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
O29 รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยา
O30 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบน
O31 รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี
O32 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
O33 รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2
มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

O34 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
O35 การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน

 
Submit to FacebookSubmit to Google PlusSubmit to TwitterShare with friendsPrint this page

จำนวนผู้เข้าชม

1205477
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
666
4318
19644
1165648
57373
55835
1205477

Your IP: 162.158.170.131
2024-04-27 16:36